Right Up Corner

ad left side

วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2553

วัดเขาทุเรียน นครนายก

"อุทยานสวนพุทธะ" ที่ร่มรื่นเงียบสงบ ด้วยบรรยากาศที่สมบูรณ์ไปด้วยธรรมชาติ จากนั้นยังเยี่ยมชมห้องน้ำ ห้องสุขา ติดแอร์ สะอาดถูกสุขอนามัยที่ตกแต่งหรูหราสไตล์รีสอร์ต โดยเฉพาะห้องปัสสาวะชายใช้ระบบเลเซอร์ที่ทันสมัย

เมื่อปี 2545 ทางจังหวัดได้มอบเกียรติให้ "วัดเขา ทุเรียน" เป็นสถานที่ตัวอย่างด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ปี 2546 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เลือกวัดเขาทุเรียนเป็น วัดในโครงการวัดละ 1 ตำบล

แผนที่

View วัดเขาทุเรียน นครนายก in a larger map

อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง นราธิวาส





เนื่องจาก พื้นที่อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว – เขาตันหยง ประกอบด้วยพื้นที่ 3 ส่วน คือ บริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งมีลักษณะพื้นที่เป็นหาดทรายติดกับชายทะเลและเนินเขาสูง บริเวณป่าสงวน 20% ของนิคมสหกรณ์บาเจาะ ซึ่งมีสภาพพื้นที่เป็นป่าพรุมีน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝนและแห้งแล้ง ในช่วงฤดูแล้งและบริเวณป่าพรุใกล้คลองปิเหล็ง สภาพพื้นที่ก็เป็นป่าพรุแต่มีน้ำท่วมขังตลอดทั้งปี

จากลักษณะดังกล่าว ทำให้พืชพรรณธรรมชาติและสัตว์ป่าของทั้ง 3 แห่ง มีความแตกต่างกัน ซึ่งพอจำแนกได้ดังนี้ คือ บริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติ ตั้งแต่บริเวณชายหาดถึงที่ลาดชันเล็กน้อยจะพบพันธุ์ไม้ประเภทป่าชายหาด ซึ่งลักษณะเป็นป่าโปร่ง ลำต้นคดงอ เนื่องจากแรงลมหรือบริเวณที่ขึ้นอยู่ เช่น ขึ้นแทรกระหว่างก้อนหินพันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ รักทะเล ยอป่า พะวา หูกวาง เลือดม้า มะนาวผี กระเบาลิง จิก พลับพลา มะพลับ มะกอก พลอง สารภีทะเล หยีน้ำ ชะเมา ตีนเป็ดทะเล ปอทะเล ฯลฯ ส่วนบริเวณที่สูงขึ้นไปจะพบพันธุ์ไม้ประเภทป่าดิบแล้ง พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ แอ๊ก ทังใบใหญ่ กันเกรา เตยทะเล ไทร มะคะ ตีนนก กระทุ่มบก เป็นต้น สำหรับพันธุ์ไม้ในบริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาตินี้ ดร.เชาวลิตร นิยมธรรม ได้สำรวจพบ ต้นมะนาวผี (Atalantia monophylla) ที่มีขนาดใหญ่และสวยงามมากเท่าที่เคยพบเห็นมา


โดยที่อุทยานแห่ง ชาติอ่าวมะนาว – เขาตันหยง เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนพิเศษป่าเขาตันหยง มีสภาพธรรมชาติทีอุดมสมบูรณ์ และอุทยานแห่งชาติมีอาณาเขตติดต่อกับแนวเขตพระราชฐานพระตำหนักทักษิณราช นิเวศน์ สัตว์ป่าที่อาศัยในบริเวณนี้จะเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างเขตอุทยานแห่งชาติกับ เขตพระราชฐานเพื่อหาอาหารและน้ำ สัตว์ที่สำรวจพบได้แก่ กระรอก กระแต พญากระรอก ชะมด ลิ่น เม่น ลิง ค่าง อีเก้ง งูเหลือม งูเห่า งูกะปะ ไก่ป่า เหยี่ยวแดง นกขมิ้น นอกจากนี้จะพบเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทสัตว์กีบ เช่น กวางป่า เก้ง กระจง ซึ่งเป็นสัตว์ป่าที่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้ทรงปล่อยไว้เพื่อสร้างระบบนิเวศในพิ้นที่ป่าสงวนแห่งชาติพิเศษป่าเขา ตันหยง เป็นจำนวนมากอีกด้วย

บริเวณพื้นที่ป่าสงวน 20% ของนิคมสหกรณ์บาเจาะ มีสภาพเป็นป่าพรุมีน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝนและแล้งในช่วงฤดูแล้งพันธุ์ไม้ที่ พบเห็นบริเวณนี้ จำแนกได้ 2 ส่วน คือ

1. บริเวณที่เป็นป่าพรุค่อนข้างสมบูรณ์ มีไม้ขนาดใหญ่ขึ้นปกคลุมหนาแน่น พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่ กระบุย ตีนเป็ดพรุ ช้างไห้ กระดุมผี อ้ายบ่าว กะทัง ทองบึ้ง หว้า เสม็ดแดง ชะเมา สาคู หลาวชะโอน สะเตียว หมากเขียว หมากแดง

2. บริเวณที่เป็นป่าเสม็ดซึ่งมีไม้เสม็ดขาวชนิดเดียวเป็นพื้นที่ผืนใหญ่ เนื้อที่ประมาณ 80% ของเนื้อที่ทั้งหมด เท่าที่พบเห็นและสอบถามชาวบ้านในท้องที่ พบว่าเป็นแหล่งทีอยู่ของสัตว์ป่าหลายชนิด ได้แก่ หมูป่า ชะมด ลิงกัง เสือปลา กระรอก กระแต อีเห็น เต่า ตะพาบน้ำ ตะกวด กบ เขียด ปลาดุก ปลาหมอ ปลาช่อน ปลาลำพัน นกเอี้ยง นกขุนทอง นกกระปูด นกกางเขนดง นกกางเขนบ้าน งูเห่า งูจงอาง งูเขียว เป็นต้น

บริเวณป่าพรุใกล้คลองปิเหล็ง มีสภาพเป็นป่าพรุที่มีน้ำท่วมขังเกือบตลอดปี เป็นป่าพรุที่มีความหนาแน่นพอสมควร พันธุ์ไม้ส่วนสำคัญได้แก่ ไม้เสม็ดขาว และจากการสอบถามชาวบ้านท้องที่ สัตว์ที่พบได้แก่ เต่า ปลาดุก ปลาช่อน ปลาหมอ ปลาลำพัน ลิง ลิ่น นาก ตะกวด อีเห็น เป็นต้น

แผนที่

View อ่าวมะนาว-เขาตันหยง in a larger map

วันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เขื่อนพระรามหก พระนครศรีอยุธยา

เขื่อนพระรามหก
เป็นเขื่อนทดน้ำแห่งแรกของประเทศไทย กั้นแม่น้ำป่าสัก ที่ ต. ไก่ขัน จ. พระนครศรีอยุธยา ทำพิธีเปิดเมื่อพ.ศ. 2467

แผนที่

ดู เขื่อนพระรามหก ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

วันพฤหัสบดีที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เขื่อนเจ้าพระยา ชัยนาท

เขื่อนเจ้าพระยา
เป็นเขื่อนทดน้ำขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กั้นลำน้ำเจ้าพระยา ที่ ต. บางหลวง อ. สรรพยา จ. ชัยนาท เปิดใช้เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500

แผนที่

ดูแผนที่ขนาดใหญ่ขึ้น

วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เขื่อนบางลาง ยะลา

แผนที่

View เขื่อนบางลาง in a larger map

เขื่อนราษีไศล ศรีสะเกษ

แผนที่

View เขื่อนราษีไศล in a larger map

เขื่อนน้ำพุง สกลนคร

เขื่อนน้ำพุง
กั้นลำน้ำพุงบนเทือกเขาภูพาน อ. กุดบาก จ. สกลนคร สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2508

แผนที่

View เขื่อนน้ำพุง in a larger map

เขื่อนห้วยหลวง อุดรธานี

แผนที่

View เขื่อนห้วยหลวง in a larger map

เขื่อนน้ำอูน สกลนคร

เขื่อนน้ำอูน
เป็นเขื่อนดิน กั้นแม่น้ำอูน ในพื้นที่ อ. พังโคน จ. สกลนคร สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2516

แผนที่

View เขื่อนน้ำอูน in a larger map

เขื่อนพรมธารา ชัยภูมิ

กฟผ. ได้สร้างเขื่อนขนาดเล็กขื่อ “เขื่อนพรมธารา” ขึ้นทางฝั่งซ้ายของเขื่อน จุฬาภรณ์ ห่างออกไปประมาณ ๕๐๐ เมตรเพื่อนำน้ำมาลงในอ่างเก็บน้ำเขื่อนจุฬาภรณ์ได้เพิ่มขึ้น ปีละประมาณ ๒ ล้าน ลูกบาศก์เมตร
แผนที่

View เขื่อนพรมธารา in a larger map

เขื่อนคลองขลุง กำแพงเพชร

แผนที่

ดูแผนที่ขนาดใหญ่ขึ้น

เขื่อนคลองโพธิ์ นครสวรรค์

แผนที่

View เขื่อนคลองโพธิ์ in a larger map

เขื่อนแม่วง นครสวรรค์

เขื่อนแม่วงก์ถือเป็นเขื่อนขนาดใหญ่ มีความสูง 57 เมตร ยาว 730 เมตร มีพื้นที่อ่างเก็บน้ำ 11,000 ไร่ที่ระดับเก็บกักน้ำปกติ และ 12,375 ไร่ที่ระดับเก็บกักน้ำสูงสุด เก็บน้ำได้ 230 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อพื้นที่ชลประทานเดิม 230,000 ไร่ และพื้นที่ชลประทานใหม่ 61,000 ไร่ ประเมินราคาค่าก่อสร้างเมื่อปี 2539 อยู่ที่ 4,043 ล้านบาท โดยยังไม่นับรวมค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อม

แผนที่

ดู เขื่อนแม่วง ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เขื่อนหนองปลาไหล ระยอง

แผนที่

View เขื่อนหนองปลาไหล in a larger map

เขื่อนจุฬาภรณ์ ชัยภูมิ

เขื่อนจุฬาภรณ์ (เขื่อนน้ำพรม)
กั้นลำน้ำพอง ต. ทุ่งพระ อ. ดอนสาน จ. ชัยภูมิ สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2516

แผนที่

View เขื่อนจุฬาภรณ์ in a larger map

เขื่อนขุนด่านปราการชล นครนายก

แผนที่

View เขื่อนขุนด่านปราการชล in a larger map

เขื่อนลำพระเพลิง นครราชสีมา

เขื่อนลำพระเพลิง
เป็นเขื่อนดิน กั้นแม่น้ำลำพระเพลิงในเขตพื้นที่ อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2510

แผนที่

View เขื่อนลำพระเพลิง in a larger map

เขื่อนลํานางรอง บุรีรัมย์

แผนที่

View เขื่อนลํานางรอง in a larger map

เขื่อนลำตะคอง นครราชสีมา

เขื่อนลำตะคอง
เป็นเขื่อนดิน กั้นแม่น้ำลำตะคอง ในเขต อ. สีคิ้ว จ. นครราชสีมา สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2512

แผนที่

View เขื่อนลำตะคอง in a larger map

เขื่อนทับเสลา อุทัยธานี

แผนที่

View เขื่อนทับเสลา in a larger map

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ลพบุรี

แผนที่

View เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ in a larger map

เขื่อนปราณบุรี ประจวบคีรีขันธ์

เขื่อนปราณบุรี
กั้นแม่น้ำปราณบุรี ในเขตพื้นที่ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2518

แผนที่

View เขื่อนปราณบุรี in a larger map

เขื่อนแก่งกระจาน เพชรบุรี

เขื่อนแก่งกระจาน
เป็นเขื่อนดินกั้นแม่น้ำเพชรบุรี ท้องที่ ต. สองพี่น้อง อ. ท่ายาง จ. เพชรบุรี สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2509

แผนที่

View เขื่อนแก่งกระจาน in a larger map

เขื่อนแม่จาง ลำปาง

แผนที่

View เขื่อนแม่จาง in a larger map

เขื่อนแจ้ห่ม เขื่อนกิ่วคอหมา ลำปาง

แผนที่

View เขื่อนแจ้ห่ม เขื่อนกิ่วคอหมา in a larger map

เขื่อนกิ่วลม ลำปาง

เขื่อนกิ่วลม
เป็นเขื่อนคอนกรีต กั้นแม่น้ำวัง ที่ อ. เมือง จ. ลำปาง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2514

แผนที่

View เขื่อนกิ่วลม in a larger map

วันพุธที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เขื่อนแม่กวงอุดมธารา เชียงใหม่

แผนที่

View เขื่อนแม่กวงอุดมธารา in a larger map

เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล เชียงใหม่

แผนที่

View เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล in a larger map

เขื่อนสิริกิติ์ อุตรดิตถ์

เขื่อนสิริกิติ์ (เขื่อนผาซ่อม)
เป็นเขื่อนกั้นแม่น้ำน่านที่ผาซ่อม อ. ท่าปลา จ. อุตรดิตถ์ เป็นเขื่อนดินขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2515

แผนที่

View เขื่อนสิริกิติ์ in a larger map

เขื่อนภูมิพล ตาก

เขื่อนภูมิพล (เขื่อนยันฮี)
เป็นเขื่อนคอนกรีตขนาดใหญ่ กั้นลำน้ำปิง สูง 154 เมตร ยาว 486 เมตร สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2507 ตั้งอยู่ที่ อ. สามเงา จ. ตาก

แผนที่

View เขื่อนภูมิพล in a larger map

เขื่อนศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

เขื่อนศรีนครินทร์ (เขื่อนเจ้าเณร)
เป็นเขื่อนดินกั้นแม่น้ำแควใหญ่ ในเขต อ. ศรีสวัสดิ์ฯ จ. กาญจนบุรี สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2515

แผนที่

View เขื่อนศรีนครินทร์ in a larger map

เขื่อนวชิราลงกรณ์ กาญจนบุรี

เขื่อนวชิราลงกรณ์
เป็นเขื่อนทดน้ำ ใช้ประโยชน์ในทางเกษตร กั้นลำน้ำแม่กลองที่ ต. ม่วงชุม อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2512

แผนที่

View เขื่อนวชิราลงกรณ์ in a larger map

วันเสาร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เชียงคาน เลย

แผนที่

ดู เชียงคาน ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

ช่องเม็ก อุบลราชธานี

แผนที่

ดู ช่องเม็ก ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

เขื่อนสิรินธร อุบลราชธานี

เขื่อนสิรินธร (เขื่อนลำโดมน้อย)
เป็นเขื่อนคอนกรีต กั้นแม่น้ำลำโดมน้อย ต. คันไร่ อ. พิบูลมังสาหาร จ. อุบลราชธานี สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2514

แผนที่

ดู เขื่อนสิรินธร ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

แก่งตะนะ อุบลราชธานี

แผนที่

ดู แก่งตะนะ ในแผนที่ขนาดใหญ่กว่า

วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553

สวนนงนุช พัทยา ชลบุรี





การเดินทางไปยังสวนนงนุช

การเดินทาง สำหรับการเดินทางเพื่อมาเที่ยวชมสวนนงนุชแห่งนี้ไม่ยากเลย โดยหากท่านมาจากกรุงเทพขับรถตามถนนสุขุมวิทผ่านจังหวัดชลบุรี ผ่านเมืองพัทยาโดยใช้เส้นทางถนนสายสุขุมวิทตลอดทาง ผ่านทางเข้าวัดญาณสังวรารามตรงมาที่ตำบลบางเสร่ สวนนงนุช จะอยู่ก่อนที่จะถึงตำบลบางเสร่ประมาณ 3 กิโลเมตรจะมีป้ายใหญ่บอกทางเข้าชัดเจนไม่ต้องกลัวหลงทาง

ช่วงเวลาที่เหมาะสม สำหรับการมาท่องเที่ยวสวนนงนุช

เวลาให้บริการ : 8:00-18:00 ทุกวัน

ค่าใช้จ่ายสำหรับการมาเที่ยวสวนนงนุช

ค่าบริการ : ชมสวน ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก (ต่ำกว่า 11 ปี 50 บาท)
ชมการแสดงศิลปะและช้างแสนรู้ 09:45 น., 10:30 น., 15:00 น. และ 15:45 น. (1 ชั่วโมง) ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 300 บาท เด็ก 150 บาท

คำแนะนำในการท่องเที่ยว

มา เที่ยวสวนนงนุชแนะนำให้มาแต่เช้าครับแดดจะไม่แรงมาก แล้วเราจะได้เดินเที่ยวได้หลายจุดโดยไม่ล้ามากแต่สวนนงนุชสำหรับผู้ที่รัก ต้นไม้ประเภทไม้ดอก ไม้ประดับคงจะชอบสวนแห่งนี้มากเป็นพิเศษกว่าผู้เยี่ยมชมท่านอื่น ที่สวนนงนุชแห่งนี้มีการปรับปรุงสวนหรือดัดแปลงมุมต่างๆภายในสวนอยู่ตลอด เวลาผู้ที่ไปเยี่ยมชม หากได้กลับไปอีกครั้งแล้วจะรู้สึกแปลกตาไปกว่าครั้งแรกที่เคยมา ที่สำคัญต้นไม้ที่อยู่ภายในสวนได้รับการดูแลรักษาอยู่เสมอเราจะเห็นพนักงาน รดน้ำต้นไม้อยู่ไม่เคยขาดแม้จะเป็นช่วงแล้งของปี ต้นไม้และสิ่งปลูกสร้างรวมถึงสัตว์เลี้ยงที่อยู่ภายในก็ได้รับการดูแลที่ดี เช่นกัน

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ

ติดต่อสอบถามขอรายละเอียดได้ที่
สวนนงนุช สำนักงานกรุงเทพ 02_2512161, 2521786
ที่สวนนงนุช 038_709358-61, 238158
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.nongnoochtropicalgarden.com


แผนที่

View สวนนงนุช in a larger map

วันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2553

น้ำตกทีลอซู ตาก








แผนที่

View น้ำตกทีลอซู in a larger map

สามพันโบก อุบลราชธานี

แผนที่


View สามพันโบก in a larger map

หาดสลึง อุบลราชธานี

แผนที่

View หาดสลึง in a larger map

แก่งสะพือ อุบลราชธานี

อ้างถึง http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=poohphawaree&date=14-06-2009&group=7&gblog=1



 

แผนที่

View แก่งสะพือ in a larger map

หุบป่าตาด อุทัยธานี

ข้อมูลเพิ่มเติม... แผนที่

View หุบป่าตาด in a larger map

yengo ad

BumQ